การประชุมวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
หัวข้อ "ทรัพยากรข้ามรัฐ : รัฐ การจัดการและผลกระทบ"

ประกาศผลบทความดีเด่น
ในการประชุมวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเครือข่ายวิชาการ
หัวข้อ “ทรัพยากรข้ามรัฐ
: รัฐ การจัดการและผลกระทบ”

วันที่ 7–8 กันยายน 2566
ณ โรงแรม เซ็นทารา ริเวอร์โซด์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่

การนำเสนอบทความวันที่ 7 กันยายน 2566

ห้องย่อยที่ 1
ผลงานบทความ ดีเด่น  จำนวน 1 บทความ ได้แก่

          บทความเรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวชุมชนเชิงชาติพันธุ์ของนักท่องเที่ยวกลุ่ม Solo Female หลังโควิด-19”  

          ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นางมณฑิรา  ธรรมจารีย์ ซิมิช

 

ผลงานบทความ ระดับ ดี  จำนวน 3 บทความ ได้แก่

  1. บทความเรื่อง “การบริหารจัดการอุทยานธรณีโลกสตูลและการเชื่อมโยงอุทยานธรณีโลก”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ดร.จารุวรรณ  ทองเนื้อแข็ง และ ดร.ห้าวหาญ  ทวีเส้ง

  1. บทความเรื่อง “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพ: กรณีศึกษา ประชาชนในตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นายพัทธดนย์  พุฒดง

  1. บทความเรื่อง “กลยุทธ์การพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวอุทยานธรณีโลกสตูล”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ดร.ป้องศักดิ์  ทองเนื้อแข็ง

 

ห้องย่อยที่ 2

ผลงานบทความ ดีเด่น  จำนวน 1 บทความ ได้แก่

          บทความเรื่อง “พุทธธรรมที่มีส่วนเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมทางการเมืองการปกครอง” 

          นำเสนอบทความ โดย  นายสนั่น  ประเสริฐ

 

ผลงานบทความ ระดับ ดี  จำนวน 3 บทความ ได้แก่

  1. บทความเรื่อง “กระแสครูบา-ตนบุญบารมี วิถีแห่งล้านนา ในยุคสังคมออนไลน์ “

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ พระครูปลัดธีร์นวัช ญาณสิทฺธิวาที

  1. บทความเรื่อง “สัญญะในพระพุทธรัตนมงคลมหามุนี วัดบูรพาภิราม จังหวัดร้อยเอ็ด”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ดร.ไพฑูรย์  สวนมะไฟ

  1. บทความเรื่อง “ครอบครัวและสังคมกับคุณภาพชีวิตด้านความสัมพันธ์ทางสังคมและด้านสภาพแวดล้อมของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง บ้านแม่แรม ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นางสาวพรพรหม  ฆ้องเดช

 

การนำเสนอบทความวันที่ 8 กันยายน 2566

ผลงานบทความ ดีเด่น  จำนวน 1 บทความ ได้แก่

          บทความเรื่อง “การประยุกต์ใช้เครื่องมือประเมินผลทางด้านเศรษฐกิจและสังคมขับเคลื่อนงานชุมชนนวัตกรรม กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ช่วงปี พ.ศ . 2563 – 2565”  

          ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ดร.วารัชต์ มัธยมบุรุษ

 

ผลงานบทความ ระดับ ดี  จำนวน 3 บทความ ได้แก่

  1. บทความเรื่อง “การพัฒนาประชาธิปไตยของไต้หวันในยุคประธานาธิบดีหลี่ เติงฮุย”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ดร.นนท์  น้าประทานสุข

  1. บทความเรื่อง “มองปราฎการณ์ทางการเมืองของ “สงครามเวียดนาม” ภายใต้บริบทแวดล้อมของสงครามเย็นผ่านร่องรอยแนวคิดและทฤษฎีการเมืองของอันโตนิโอกรัมชี่
    และสำนักนีโอกรัมเชี่ยน”“การพัฒนาประชาธิปไตยของไต้หวันในยุคประธานาธิบดีหลี่ เติงฮุย”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นายวรพล โชติจิรเดชากุล

  1. บทความเรื่อง “บทสำรวจว่าด้วยเศรษฐกิจการบริโภคภายใต้สภาวะหมอกควันข้ามแดน”

ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ปฐมพงศ์  มโนหาญ

 

ทางคณะผู้จัดงาน จะจัดส่งใบประกาศเกียรติคุณไปให้แก่เจ้าของผลงานบทความดีเด่นและระดับดี ทางอีเมล์ในลำดับต่อไป 

ปรับปรุงข้อมูล : 19/9/2566 11:00:22     ที่มา : การประชุมวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 3168

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวประชาสัมพันธ์

ข่าวล่าสุด

ประกาศผลบทความดีเด่น
ประกาศผลบทความดีเด่น ในการประชุมวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเครือข่ายวิชาการ หัวข้อ “ทรัพยากรข้ามรัฐรัฐ การจัดการและผลกระทบ” วันที่ 7–8 กันยายน 2566 ณ โรงแรม เซ็นทารา ริเวอร์โซด์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ การนำเสนอบทความวันที่ 7 กันยายน 2566ห้องย่อยที่ 1 ผลงานบทความ ดีเด่น  จำนวน 1 บทความ ได้แก่บทความเรื่อง “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเดินทางท่องเที่ยวชุมชนเชิงชาติพันธุ์ของนักท่องเที่ยวกลุ่ม Solo Female หลังโควิด-19”   ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นางมณฑิรา  ธรรมจารีย์ ซิมิชผลงานบทความ ระดับ ดี  จำนวน 3 บทความ ได้แก่บทความเรื่อง “การบริหารจัดการอุทยานธรณีโลกสตูลและการเชื่อมโยงอุทยานธรณีโลก”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ดร.จารุวรรณ  ทองเนื้อแข็ง และ ดร.ห้าวหาญ  ทวีเส้งบทความเรื่อง “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพ: กรณีศึกษา ประชาชนในตำบลแม่ทราย อำเภอร้องกวาง จังหวัดแพร่”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นายพัทธดนย์  พุฒดงบทความเรื่อง “กลยุทธ์การพัฒนาตลาดการท่องเที่ยวอุทยานธรณีโลกสตูล”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ดร.ป้องศักดิ์  ทองเนื้อแข็งห้องย่อยที่ 2ผลงานบทความ ดีเด่น  จำนวน 1 บทความ ได้แก่บทความเรื่อง “พุทธธรรมที่มีส่วนเสริมสร้างคุณธรรมและจริยธรรมทางการเมืองการปกครอง” นำเสนอบทความ โดย  นายสนั่น  ประเสริฐผลงานบทความ ระดับ ดี  จำนวน 3 บทความ ได้แก่บทความเรื่อง “กระแสครูบา-ตนบุญบารมี วิถีแห่งล้านนา ในยุคสังคมออนไลน์ “ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ พระครูปลัดธีร์นวัช ญาณสิทฺธิวาทีบทความเรื่อง “สัญญะในพระพุทธรัตนมงคลมหามุนี วัดบูรพาภิราม จังหวัดร้อยเอ็ด”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ดร.ไพฑูรย์  สวนมะไฟบทความเรื่อง “ครอบครัวและสังคมกับคุณภาพชีวิตด้านความสัมพันธ์ทางสังคมและด้านสภาพแวดล้อมของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง บ้านแม่แรม ตำบลเตาปูน อำเภอสอง จังหวัดแพร่”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นางสาวพรพรหม  ฆ้องเดชการนำเสนอบทความวันที่ 8 กันยายน 2566ผลงานบทความ ดีเด่น  จำนวน 1 บทความ ได้แก่บทความเรื่อง “การประยุกต์ใช้เครื่องมือประเมินผลทางด้านเศรษฐกิจและสังคมขับเคลื่อนงานชุมชนนวัตกรรม กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา ช่วงปี พ.ศ . 2563 – 2565”  ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ดร.วารัชต์ มัธยมบุรุษผลงานบทความ ระดับ ดี  จำนวน 3 บทความ ได้แก่บทความเรื่อง“การพัฒนาประชาธิปไตยของไต้หวันในยุคประธานาธิบดีหลี่ เติงฮุย”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ดร.นนท์  น้าประทานสุขบทความเรื่อง“มองปราฎการณ์ทางการเมืองของ “สงครามเวียดนาม” ภายใต้บริบทแวดล้อมของสงครามเย็นผ่านร่องรอยแนวคิดและทฤษฎีการเมืองของอันโตนิโอกรัมชี่ และสำนักนีโอกรัมเชี่ยน”“การพัฒนาประชาธิปไตยของไต้หวันในยุคประธานาธิบดีหลี่ เติงฮุย”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ นายวรพล โชติจิรเดชากุลบทความเรื่อง “บทสำรวจว่าด้วยเศรษฐกิจการบริโภคภายใต้สภาวะหมอกควันข้ามแดน”ผู้นำเสนอบทความ ได้แก่ ผศ.ปฐมพงศ์  มโนหาญทางคณะผู้จัดงาน จะจัดส่งใบประกาศเกียรติคุณไปให้แก่เจ้าของผลงานบทความดีเด่นและระดับดี ทางอีเมล์ในลำดับต่อไป 
19 กันยายน 2566     |      3169
วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมกับเครือข่ายวิชาการ จัดงานประชุมวิชาการ หัวข้อ “ทรัพยากรข้ามรัฐ: รัฐ การจัดการและผลกระทบ”
ในวันที่ 7 – 8 กันยายน 2566 ณ โรงแรมเซ็นทารา ริเวอร์ไซด์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักวิชาการ นักวิจัย นักพัฒนา และนักศึกษาได้แลกเปลี่ยนทางวิชาการเพื่อพัฒนาบริบทที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร การบริหารงานภาครัฐ และผลกระทบจากการจัดการทรัพยากร ตลอดจนส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายทางวิชาการในการวิจัย การเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะและการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์การประชุมวิชาการในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก รองศาสตราจารย์ ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง และ ศาสตราจารย์ ดร.สิทธิพล เครือรัฐติกาล เป็นวิทยากรพิเศษบรรยายในหัวข้อ “ทรัพยากรข้ามรัฐ : รัฐ การจัดการและผลกระทบที่มีต่อ ไทย จีน และอาเซียน” และวิทยากรพิเศษ ดร.อุทัย ดุลยเกษม บรรยายในหัวข้อ “ความขัดแย้งและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติข้ามพรมแดน: นัยสำหรับโครงการการประเมินผลกระทบ” นอกจากนี้ ยังมีคณาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิของวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ได้แก่ รองศาสตราจารย์ ดร.บงกชมาศ เอกเอี่ยม ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรารถนา ยศสุข ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรมพร ตันตรา ได้เสวนาในหัวข้อ "คน รัฐ ชุมชนและการอยู่ร่วมกัน" โดยมีอาจารย์ ดร.สมคิด แก้วทิพย์ เป็นผู้ดำเนินรายการการประชุมวิชาการในครั้งนี้ ได้มีคณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนักศึกษามานำเสนอบทความวิจัยและบทความวิชาการ ในประเด็นการพัฒนาบริบทที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร การบริหารงานภาครัฐ และผลกระทบ จำนวน 39 บทความ ซึ่งการจัดประชุมวิชาการทั้ง 2 วัน มีผู้เข้าร่วมงานทั้งสิ้น 320 คน โดยมาจากเครือข่ายทางวิชาการกว่า 20 สถาบัน/หน่วยงานภาพบรรยายกาศในงานประชุมวิชาการhttps://drive.google.com/drive/folders/1up8rGmNFEpfXprkQ_SRiaIDIDwqQrTyj?usp=sharing
15 กันยายน 2566     |      3855
ขยายเวลารับบทความ จนถึง วันที่ 10 กรกฎาคม 2566
การประชุมวิชาการ เรื่อง "ทรัพยากรข้ามรัฐ : รัฐ การจัดการและผลกระทบ" ในวันที่ 7 – 8 กันยายน 2566 ณ โรงแรมเซ็นทารา ริเวอร์ไซด์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ขยายเวลาเปิดรับบทความ และพิจารณาบทความ  ดังนี้เปิดรับสมัครบทความ                    จนถึงวันที่ 10 กรกฎาคม 2566ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินบทความ            11 กรกฎาคม – 20 กรกฎาคม 2566ส่งบทความให้แก้ไข                      21 กรกฎาคม – 30 กรกฎาคม 2566แจ้งผลการพิจารณาบทความ            31 กรกฎาคม 2566ชำระเงินค่าลงทะเบียน (ผู้นำเสนอ)      1 สิงหาคม – 10 สิงหาคม 2566ชำระเงินค่าลงทะเบียน (ผู้เข้าร่วม)       1 กรกฎาคม 2566 – 30 สิงหาคม 2566สามารถลงทะเบียนส่งบทความได้ที่ https://docs.google.com/forms/d/e/1FAIpQLSepkWOgRmPA81sNBH2_fDjOnElWPKwtxWoZolNEThxDJE-p7g/viewform
20 มิถุนายน 2566     |      1127
วิทยากรบรรยายพิเศษในการประชุมวิชาการ
วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมกับเครือข่ายวิชาการ ขอเชิญเข้าร่วมการประชุมวิชาการ เรื่อง "ทรัพยากรข้ามรัฐ : รัฐ การจัดการและผลกระทบ" ในวันที่ 7 – 8 กันยายน 2566 ณ โรงแรมเซ็นทารา ริเวอร์ไซด์ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ วัตถุประสงค์เพื่อให้นักวิชาการ นักวิจัย นักพัฒนา และนักศึกษาได้แลกเปลี่ยนทางวิชาการเพื่อพัฒนาบริบทที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากร การบริหารงานภาครัฐ และผลกระทบจากการจัดการทรัพยากร ตลอดจนเพื่อส่งเสริมให้เกิดเครือข่ายทางวิชาการและเผยแพร่ผลงานวิจัยสู่สาธารณะและนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์  โดยมีกำหนดการจัดประชุมวิชาการและวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิดังนี้  วันที่ 7 กันยายน 2566เวลา 09.00 – 09.30 น.  พิธีเปิดงานประชุมวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์เวลา 09.30 – 10.30 น.  บรรยายพิเศษ หัวข้อ “ทรัพยากรข้ามรัฐ : รัฐ การจัดการและผลกระทบ                                 ที่มีต่อไทยและอาเซียน”                                 โดย     รองศาสตราจารย์ ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่งเวลา 10.30 – 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่างเวลา 10.45 – 11.45 น. บรรยายพิเศษ หัวข้อ “ทรัพยากรข้ามรัฐ : รัฐ การจัดการและผลกระทบ                                ที่มีต่อจีนและอาเซียน”                                 โดย     ศาสตราจารย์ ดร.สิทธิพล เครือรัฐติกาลเวลา 11.45 – 12.00 น. ถาม-ตอบคำถาม แก่ผู้ที่สนใจเวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันเวลา 13.00 – 16.00 น. นำเสนอผลงานทางวิชาการในห้องย่อยเวลา 16.00 น.             เสร็จสิ้นการประชุม วันที่ 1วันที่ 8 กันยายน 2566เวลา 09.00 – 10.00 น. บรรยายพิเศษ หัวข้อ “กรอบคิดและวิธีวิทยาในการใช้องค์ความรู้ด้านการประเมิน                                เพื่อการบริหารการพัฒนาโครงการในระดับพื้นที่”                                 โดย     ดร.อุทัย  ดุลยเกษมเวลา 10.00 – 12.00 น. นำเสนอผลงานทางวิชาการในห้องย่อยเวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวันเวลา 13.00 – 15.00 น. Closing Keynote หัวข้อ “คน รัฐ ชุมชนและการอยู่ร่วมกัน”                             โดย     รศ.ดร.บงกชมาศ เอกเอี่ยม                                                  ผศ.ดร.ปรารถนา  ยศสุข                                                 ผศ.ดร.ธรรมพร ตันตรา                                ดำเนินรายงานโดย อาจารย์ ดร.สมคิด  แก้วทิพย์
25 พฤษภาคม 2566     |      592